ความเหมือนและความแตกต่างของเขตปลอดอากร (IN LAND)
กับเขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

หัวข้อ
เขตปลอดอากร(IN LAND)
เขตปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
1. ความหมาย
เขตปลอดอากร(FreeZone)หมายถึงเขตพื้นที่กำหนดไว้สำหรับการอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์เศรษฐกิจของประเทศ โดยของที่นำเข้าในเขตจะได้รับสิทธิ์ประโยชน์ทางภาษีอากรที่กฎหมายบัญญติ
เขตปลอดอากร(FreeZone)หมายถึงเขตพื้นที่กำหนดไว้สำหรับการพาณิชยกรรม หรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์เศรษฐกิจของประเทศ โดยของที่นำเข้าในเขตจะได้รับสิทธิ์ประโยชน์ทางภาษีอากรที่กฎหมายบัญญติ
2. กฎหมายและระเบียบที่กี่ยวข้อง
มาตรา 97 ตรีถึง 97 ทศ พ.ร.บ.ศุลกากรพ.ศ.2469แก้ไขเพิ่มเติมพ.ร.บ.ศุลกากร(ฉบับที่18)พ.ศ.2543และประมวลรัษฎากรและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องรวมทั้งประมวลระเบียบปฎิบัติศุลกากร พ.ศ.2544
มาตรา 97 ตรีถึง 97 ทศ พ.ร.บ.ศุลกากรพ.ศ.2469แก้ไขเพิ่มเติมพ.ร.บ.ศุลกากร(ฉบับที่18)พ.ศ.2543และประมวลรัษฎากรและกฎหมายอื่นที่เกียวข้องรวมทั้งประมวลระเบียบปฎิบัติศุลกากร พ.ศ.2544
3. การจัดตั้ง โดยอธิบดีกรมศุลกากรเป็นผู้อนุมัติตามวิธีการหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมศุลกากรกำหนด มาตรา97ตรี พ.ร.บ.ศุลกากร(ฉบับที่18)พ.ศ.2543 โดยอธิบดีกรมศุลกากรเป็นผู้อนุมัติตามวิธีการหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมศุลกากรกำหนด มาตรา97ตรี พ.ร.บ.ศุลกากร(ฉบับที่18)พ.ศ.2543
4. การอนุญาตให้เป็นประกอบการในเขต โดยอธิบดีกรมศุลกากรเป็นผู้อนุมัติตามวิธีการหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมศุลกากรกำหนด โดยอธิบดีกรมศุลกากรเป็นผู้อนุมัติตามวิธีการหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมศุลกากรกำหนด
5. สิทธิ์ประโยชน์ของผู้ประกอบการ 1.ได้รับยกเว้นอากรขาเข้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิตและภาษีอื่นที่เกี่ยวข้องสำหรับเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ รวมทั้งส่วนประกอบของดังกล่าวที่ใช้ในการสร้างโรงงาน วัตถุดิบของอื่นที่ใช้ประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรมหรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจประเทศที่นำเข้ามาในFZ เช่น - ยกเว้นภาษีสุรา การปิดแสตป์ กฎหมายว่าด้วยยาสูบและกฎหมายว่าด้วยไพ่ สำหรับของที่นำเข้าและการผลิตใน FZ 1.ได้รับยกเว้นอากรขาเข้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิตและภาษีอื่นที่เกี่ยวข้องสำหรับเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ รวมทั้งส่วนประกอบของดังกล่าวที่ใช้ในการสร้างโรงงาน วัตถุดิบของอื่นที่ใช้ประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรมหรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจประเทศที่นำเข้ามาในFZ เช่น - ยกเว้นภาษีสุรา การปิดแสตป์ กฎหมายว่าด้วยยาสูบและกฎหมายว่าด้วยไพ่ สำหรับของที่นำเข้าและการผลิตในFZ
  2.ใช้อัตราภาษีร้อยละ 0 ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการนำสินค้าในราชอาณาจักรเข้ามาใน FZ 2. ใช้อัตราภาษีร้อยละ 0 ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการนำสินค้าในราชอาณาจักรเข้ามาใน FZ
  3.ได้รับยกเว้นหรือคืนเงินค่าภาษีอากรส่งออกสำหรับของที่นำเข้าไปใน FZ เสมือนการส่งของนั้นออกนอกราชอาณาจักร 3. ได้รับยกเว้นหรือคืนเงินค่าภาษีอากรส่งออกสำหรับของที่นำเข้าไปใน FZ เสมือนการส่งของนั้นออกนอกราชอาณาจักร
  4. ได้รับการยกเว้นอากรขาออก ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต สำหรับของที่ปล่อยออกจากFZเพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร  
  5. สามารถจำหน่ายของใน FZให้คลังสินค้าทัณฑ์บน หรือผู้ได้รับสิทธิ์คืนอากรตามมาตรา 19ทวิ ยกเว้นอากรตามพ.ร.บ.พิกัดฯส่งเสริมการลงทุน หรือกฎหมายอื่น เสมือนการนำของจากต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจักร 5. สามารถจำหน่ายของใน FZให้คลังสินค้าทัณฑ์บน หรือผู้ได้รับสิทธิ์คืนอากรตามมาตรา 19ทวิ ยกเว้นอากรตามพ.ร.บ.พิกัดฯส่งเสริมการลงทุน หรือกฎหมายอื่น เสมือนการนำของจากต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจักร
  6. ของที่นำออกจากFZเพื่อใช้ หรือบริโภคภายในประเทศต้องชำระค่าภาษีอากรโดยการคำนวณตามสภาพ ราคาของ พิกัดและอัตราในเวลาที่ปล่อยของนั้นออกจากFZโดยถือเสมือนว่านำเข้ามาในประเทศ และในวันที่นำออกจากFZ สามารถนำมูลค่าของวัดถุดิบในประเทศที่นำเข้ามาผลิตของนั้นหักออกจากราคาไม่ต้องนำมาคำนวณค่าภาษีอากรถ้าของที่นำเข้าไปนั้นไม่มีสิทธิ์ได้รับคืนหรือยกเว้นอากร 6.ของที่นำออกจากFZเพื่อใช้ หรือบริโภคภายในประเทศต้องชำระค่าภาษีอากรโดยการคำนวณตามสภาพ ราคาของ พิกัดและอัตราในเวลาที่ปล่อยของนั้นออกจากFZโดยถือเสมือนว่านำเข้ามาในประเทศ และในวันที่นำออกจากFZ สามารถนำมูลค่าของวัดถุดิบในประเทศที่นำเข้ามาผลิตของนั้นหักออกจากราคาไม่ต้องนำมาคำนวณค่าภาษีอากรถ้าของที่นำเข้าไปนั้นไม่มีสิทธิ์ได้รับคืนหรือยกเว้นอากร
  7. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำวัตถุดิบที่เข้าไปFZ เพื่อผลิต ผสม ประกอบแล้วนำออกมาจำหน่ายภายในประเทศ สามารถใช้อัตราต่ำสุด เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ที่นำเข้าจากต่างประเทศ(ตามประกาศ116พ.ศ.2549) 7. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำวัตถุดิบที่เข้าไปFZ เพื่อผลิต ผสม ประกอบแล้วนำออกมาจำหน่ายภายในประเทศ สามารถใช้อัตราต่ำสุด เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ที่นำเข้าจากต่างประเทศ(ตามประกาศ116 พ.ศ.2549)
  8. ได้รับการยกเว้นอากรสำหรับของที่เสียหาย ของที่ใช้ไม่ได้ของที่ไม่ได้ใช้ในFZ ที่ได้รับอนุมัติให้ทำลาย 8. ได้รับการยกเว้นอากรสำหรับของที่เสียหาย ของที่ใช้ไม่ได้ของที่ไม่ได้ใช้ในFZ ที่ได้รับอนุมัติให้ทำลาย
  9. สามารถโอนและรับโอนจาก FZหรือ EPZได้ 9. สามารถโอนและรับโอนจาก FZหรือ EPZได้
  10.สามารถนำของไปผ่านกระบวนการผลิต บางขั้นตอนนอกFZได้ 10. สามารถนำของไปผ่านกระบวนการผลิต บางขั้นตอนนอกFZได้
  11.ได้รับการยกเว้นและไม่อยู่ภายในบังคับของกฎหมายเกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพและมาตราฐาน(มอก)สำหรับของที่นำเข้าไปในFZเพี่อผลิต ผสม ประกอบ บรรจุหรือดำเนินการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร 11.ได้รับการยกเว้นและไม่อยู่ภายในบังคับของกฎหมายเกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพและมาตราฐาน(มอก)สำหรับของที่นำเข้าไปในFZเพี่อผลิต ผสม ประกอบ บรรจุหรือดำเนินการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
  12.ได้รับสิทธิยกเว้นค่าภาษีอากรตลอดเวลาที่อยู่ในFZ โดย
-ไม่ต้องยืนสูตรการผลิต
-ไม่ต้องวางประกัน
-ไม่มีกำหนดเงื่อนไขในจำนวนที่ส่งออก
-ไมมีเงื่อนเวลาในการส่งออก
12.ได้รับสิทธิยกเว้นค่าภาษีอากรตลอดเวลาที่อยู่ในFZ โดย
-ไม่ต้องยืนสูตรการผลิต
-ไม่ต้องวางประกัน
-ไม่มีกำหนดเงื่อนไขในจำนวนที่ส่งออก
-ไมมีเงื่อนเวลาในการส่งออก
  13.การนำของเข้าและส่งออกจากFZ สามารถปฎิบัติพิธีการศุลกากรได้ไม่ต้องขออนุญาตจาก กนอ.ซึ่งเป็นการให้บริการแบบ ONE STOP SERVICE 13.การนำของเข้าและส่งออกจากFZ สามารถปฎิบัติพิธีการศุลกากรได้ไม่ต้องขออนุญาตจาก กนอ.ซึ่งเป็นการให้บริการแบบ ONE STOP SERVICE
  14. กรณีFZที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของการนิคมฯสามารถใช้สิทธิตามพ.ร.บ.การนิคมฯพ.ศ.2522ได้(ม.45ม46)ได้รับอนุญาตให้นำคนต่างด้าวที่เป็นช่างฝีมือ ผู้ชำนาญการ เข้ามาในราชอาณาจักรและทำงานในFZได้ 14.ไม่มี
  15.กรณีFZที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของการนิคมฯสามารถใช้สิทธิตามพ.ร.บ.การนิคมฯพ.ศ.2522ได้รับอนุญาตให้ส่งเงินตราต่างประเทศไปนอกอาณาจักรได้(ตามม.47) 15.ไม่มี
  16. เป็นพื้นที่FZ ที่ไม่มีพื้นที่ติดกับท่าอากาศยานฯ 16. เป็นพื้นที่FZ ที่มีพื้นที่ติดต่อกับท่าอากาศยาน
  17. เป็นพื้นที่ FZ ที่เน้นเชิงอุตสาหกรรม พาณิชยกรรมหรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์เศรษฐกิจของประเทศ 17. เป็นพื้นที่ FZ ที่เน้นเชิงพาณิชยกรรมหรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์เศรษฐกิจของประเทศ
  18. เป็นพื้นที่FZที่ให้เป็นผู้ประกอบการที่เป็นผู้ประกอบการผลิต ผสม ประกอบ แท้จริง 18. เป็นพื้นที่FZที่ให้เป็นผู้ประกอบการที่เป็นผู้ประกอบการผลิต ผสม ประกอบแท้จริง หรือเป็นผู้ประกอบการที่เป็นผู้ให้บริการ โดยมีแบบเลือก 3 แบบ 3.1 คลังสินค้า ,3.2 คลังเพิ่มมูลค่าสินค้า , 3.3. คลังสินค้าเร่งด่วน
  19. เป็นพื้นที่FZ ที่ไม่มีพื้นที่ติดกับท่าอากาศยานฯเมื่อมีสินค้าที่นำมาจากต่างประเทศจะต้องดำเนินพิธีการศุลกากร(ทำใบขน)จึงจะเคลื่อนย้ายสินค้าออกจากพื้นที่คลังสินค้าที่ท่าอากาศยานฯได้ 19. เป็นพื้นที่FZ ที่มีพื้นที่ติดกับท่าอากาศยานฯเมื่อมีสินค้าที่นำมาจากต่างประเทศ โดยใช้คำร้องฯของผู้จัดตั้งเขตปลอดอากรขออนุญาตผ่านศุลกากร ก็สามารถเคลื่อนย้ายสินค้าออกจากพื้นที่คลังสินค้ามาเก็บในพื้นที่เพิ่มมูลค่าสินค้าได้
  20.เมื่อมีการขนส่งสินค้าออกจากพื้นที่คลังสินค้า ทำให้สิ้นเปลืองต้นทุนการขนส่งซึ่งมีระยะทางใกล้ไกลขึ้นอยู่กับสถานที่ของ FZนั้น 20.เมื่อมีการขนส่งสินค้าออกจากพื้นที่คลังสินค้า ทำให้ลดต้นทุนการขนส่งซึ่งมีระยะทางใกล้กว่าที่ FZ อื่นๆ
  21.การเคลื่อนย้ายสินค้าประเภทสินค้าถ่ายลำ(แนบ9)หรือสินค้าผ่านแดนเข้าพื้นที่FZไม่ได้ 21.การเคลื่อนย้ายสินค้าประเภทสินค้าถ่ายลำ(แนบ9)หรือสินค้าผ่านแดน สามารถโอนย้ายสินค้าเข้ามาในพื้นที่ FZได้ก่อนดำเนินพิธีการศุลกากร(แนบ9หรือใบขนผ่านแดน)ซึ่งสามารถทำได้เฉพาะผู้ที่ได้รับการอนุมัติจากตัวแทนเรือหรือกรมศุลกากรเท่านั้น
  22.การนำสินค้าเข้าเพื่อมากระจายสินค้าเพื่อส่งออกราชอาณาจักรจะต้องดำเนินพิธีการศุลกากร ทั้งนำเข้าและการส่งออก 22.การนำสินค้าเข้าเพื่อมากระจายสินค้าเพื่อส่งออกราชอาณาจักรจะดำเนินพิธีการการส่งออก ทำให้ลดต้นทุนการดำเนินพิธีการศุลกากรขาเข้า
  23.การจัดทำรายงานการดำเนินการในเขตปลอดอากร ผู้ประกอบการส่งรายงานให้กรมศุลกากรได้เลย 23.การจัดทำรายงานการดำเนินการในเขตปลอดอากร ผู้ประกอบการส่งรายงานให้ผู้จัดตั้งเขตปลอดอากรแทน เพราะผู้จัดตั้งจะเป็นผู้ที่ส่งข้อมูลและรายงานให้กรมศุลกากรแต่เพียงผู้เดียว(ตามประกาศ27/2551)
  24.การแก้ไขชื่อผู้รับสินค้า ในใบตราส่ง 24.การแก้ไขชื่อผู้รับสินค้าผู้จัดตั้งจะเป้นผู้แก้ไขและส่งข้อมูลบัญชีสินค้า ให้กับกรมศุลกากรแต่เพียงผู้เดียว
  25.การผ่านพิธีการศุลกากรมีการทำใบขนมีหลายประเภทเช่นใบขนสินค้าออก"1","0","D","A","B"เป็นต้นเพราะอาจมี EPZ,FZ,BOI,ทัณฑ์บนอยู่ในอาณาเขตเดียว 25.การผ่านพิธีการศุลกากรมีการทำใบขนมีประเภทน้อยกว่าเช่นใบขนสินค้าออก"1","0","C" ใบขนแนบ9และคำร้อง"G",T"เป็นต้น
  26. การจัดส่งสินค้าที่มาจากต่างประเทศไม่สามารถดำเนินการออกใบตราส่งเพิ่มจากรายการที่ระบุชื่อผู้นำเข้าส่งมาจากต้นทาง 26. การจัดส่งสินค้าที่มาจากต่างประเทศ ผุ้ประกอบการสามารถมาทำกิจกรรมการเพิ่มใบตราส่ง(เจ้าของสินค้าที่แท้จริง)เมื่อได้รับการอนุมัติจากสสภ.
  27. ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการที่ไม่เน้นการเป็นผู้ประกอบการโลจิสติกส์ 27. ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการที่เน้นการเป็นผู้ประกอบการโลจิสติกส์ เพื่อลดต้นทุนการขนส่งระหว่างต่างประเทศ
  28. ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ต้องลงทุนในการก่อสร้างอาคารสถานที่เพื่อรองรับเป็นคลังสินค้า 28.ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่ต้องลงทุนในการก่อสร้างอาคารสถานที่เพื่อรองรับเป็นคลังสินค้า((ผู้เช่าอาคารสถานที่)ในการสะดวกที่จะเปลี่ยนการลงทุนเพื่อรองรับกิจกรรมที่เปลี่ยนแปลงตามยุคโลกาวิวัฒฯ
  29. มีพื้นที่ที่รองรับภาวะโลกร้อน หรือมีบ่อระบายน้ำเสีย เต่าเผาทำลายในพื้นที่FZ 29. ไม่มีพื้นที่ที่รองรับภาวะโลกร้อน หรือมีบ่อระบายน้ำเสีย เต่าเผาทำลายในพื้นที่FZ


 
Free Zone Operator © 2006-2012